WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ

นายวีรชาติ มาตหลุบเลา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์ ร่วมกิจกรรม การฝึกอบรม WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างวันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2565 ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สนับสนุนโดย กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ เพื่อนำขยายผลการจัดการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม สำหรับนักเรียน


เอกสารประกอบการฝึกอบรม

  1. ความเป็นมาของโครงการ WiFinder และ ความรู้พื้นฐานเรื่องคลื่น โดย อาจารย์วัชระ อมศิริ

  2. ความรู้เบื้องต้นเรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคม โดย คุณสุรพงษ์ ภัทราเกษม

  3. ความรู้เบื้องต้นเรื่อง สายอากาศ โดย คุณชนาธิป พิศาลสรกิจ

  4. การสร้าง ใช้งาน และ ประยุกต์เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดย คุณทศพร เวชศิริ

  5. คู่มือการสอน และ คู่มือการใช้งานอุปกรณ์ค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดย คณะนักวิจัย


เรียนเชิญร่วมอบรมพัฒนาสมรรถนะดิจิทัล ก่อนเปิดภาคเรียน โดยโรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์ สพป.ร้อยเอ็ด เขต 2

ลิงค์สมัครอบรม

https://forms.gle/QKwkLfrW9QcUFNTHA

(อบรมออไลน์ 4 คอร์ส บุฟเฟต์ 199 บาท /อบรม onsite ที่โรงเรียนคอร์สละ 150 บาท รายได้สมทบทุนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์)

24 ตุลาคม 2565....ฝึกสร้างรายได้ออนไลน์ ด้วย Youtube (Youtuber) การตัดต่อวีดีโอ ด้วย smartphone สร้างสื่อการสอนและทำคลิปการสอน วPA

25 ตุลาคม 2565 .....การสร้างแพลตฟอร์มดิจิทัล ด้วย Google for Education สำหรับเชื่อมโยงการจัดการชั้นเรียน กับแหล่งเรียนรู้ออนไลน์

27 ตุลาคม 2565 ..... Google Chrome OS Flex และแนวทางการนำสู่ชั้นเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนบูรณาการวิทยาการคำนวณ กับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

วันที่ 28 ตุลาคม 2565 .... การปรเมินออนไลน์ในยุคดิจิทัล ด้วย Metaverse googlesite anyflip google classroom.

ร่างคอร์สอบรมครับ เป็นการอบรมแบบ hybrid learning ผสมผสานรูปแบบใหม่ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ โดยจะมีการผสมผสานการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และคนละเวลากัน (Asynchronous) ที่เชื่อมโยงกันด้วยเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่สามารถเรียนได้แบบออนไลน์ วิดิโอถ่ายทอดสดจากคลาส หรือ live-streaming ร่วมกับการเข้าเรียนในห้องเรียน (Onsite) เป็นการอบรมที่มีทั้งแบบวิทยากรอยู่ในห้องร่มกับผู้เข้าอบรมแบบเผชิญหน้าและส่วนหนึ่งออนไลน์ หรือแบบที่ใช้วิทยากรหลักร่วมกันโดยวิทยากรหลักออนไลน์ ส่วนวิทยากรผู้ช่วยอยู่ ณ สถานที่อบรมต่างๆ ส่วนผู้เข้าอบรมมีทั้งแบบออนไลน์และจัดเป็นห้องเรียน(Onsite) ในโรงเรียนที่จัด

ลิงค์สมัครอบรม (อบรมออไลน์ 4 คอร์ส บุฟเฟต์ 199 บาท /อบรม onsite ที่โรงเรียนคอร์สละ 150 บาท)

https://forms.gle/QKwkLfrW9QcUFNTHA

ขอเรียนเชิญผู้สนใจ ที่พอมีเวลาว่างร่วมแชร์ไอเดีย ความรู้และประสบการณ์ครับ ส่งรายละเอียดการอบรมให้ทาง email ใช้ Google meet ในการอบรม รายได้สมทบทุนพัฒนาการศึกษาโรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์ สพป.ร้อยเอ็ด เขต 2


ในนามผู้อำนวยการ คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และนักเรียน ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม่ รับปริญญา ปี 2565 ทั้ง 3 ท่าน ครับ

นิทรรศการแสดงผลงาน โรงเรียนที่มีความโดดเด่นในการนำนวัตกรรม ROIET2 Model

สามผสานพลังขับเคลื่อนสู่คุณภาพผู้เรียนสู่การปฏิบัติ

นิทรรศการแสดงผลงาน โรงเรียนที่มีความโดดเด่นในการนำนวัตกรรม ROIET2 Model

สามผสานพลังขับเคลื่อนสู่คุณภาพผู้เรียนสู่การปฏิบัติ


Active Learning โดยใช้เทคโนโลยี


โรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2


เรียนเชิญรับชมแบบ มัลติเวิร์ส ครับ

การอบรมออนไลน์ "การจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา (STEM Education)"

สพป ร้อยเอ็ด เขต 2 วันที่ 6-7 สิงหาคม 65

วิทยากร โดย คณะคุณครู โรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์

การดำเนินการอบรมออนไลน์

บรรยากาศการประเมินครูผู้ช่วยแบบผสมผสาน เทคโนโลยีในยุค Digital

การอบรมเพื่อขยายผล การประเมินออนไลน์ โดยใช้ Metaverse เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัลของครู เพื่อปรับแนวทางการประเมินยุคใหม่โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล


ตู้หนังสือออนไลน์

คลิปการสอน Metaverse

ดูย้อนหลังครับ

กิจกรรมอบรมหุ่นยนต์ Coding - STEM

Coding ฟินแลนด์

การประชุมปฏิบัติการสาธิตการสอนภายใต้โครงการนำร่องเปิดศูนย์นวัตกรรมหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ สากลมาตรฐานประเทศฟินแลนด์ (Global Coding Robotics and AI Innovation Center 5.0 by Robbo)

Coding ฟินแลนด์

การประชุมปฏิบัติการสาธิตการสอนภายใต้โครงการนำร่องเปิดศูนย์นวัตกรรมหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ สากลมาตรฐานประเทศฟินแลนด์ (Global Coding Robotics and AI Innovation Center 5.0 by Robbo)

บรรยากาศโครงการนำร่อง ศูนย์นวัตกรรมหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ สากลมาตรฐานประเทศฟินแลนด์ (Global Coding Robotics and AI Innovation Center 5.0 by Robbo)

เครือข่ายอารยเกษตร

โคกหนองนาแห่งน้ำใจและความหวัง

เปิดป้ายเปิดเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน เครือข่ายอารยเกษตร โคกหนองนาแห่งน้ำใจและความหวัง

โครงการอาสา

พัฒนาโรงเรียนบ้านเกิด ปีที่ 12

MITSUBISHI

โรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์

WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ

นายวีรชาติ มาตหลุบเลา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโนนวิทยาพัฒน์ ร่วมกิจกรรม การฝึกอบรม WiFinder | โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิศวกรรมโทรคมนาคมในโรงเรียนทั่วประเทศ โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างวันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2565 ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สนับสนุนโดย กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ เพื่อนำขยายผลการจัดการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม สำหรับนักเรียน


เอกสารประกอบการฝึกอบรม

  1. ความเป็นมาของโครงการ WiFinder และ ความรู้พื้นฐานเรื่องคลื่น โดย อาจารย์วัชระ อมศิริ

  2. ความรู้เบื้องต้นเรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคม โดย คุณสุรพงษ์ ภัทราเกษม

  3. ความรู้เบื้องต้นเรื่อง สายอากาศ โดย คุณชนาธิป พิศาลสรกิจ

  4. การสร้าง ใช้งาน และ ประยุกต์เครื่องมือค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดย คุณทศพร เวชศิริ

  5. คู่มือการสอน และ คู่มือการใช้งานอุปกรณ์ค้นหาแหล่งกำเนิดสัญญาณ โดย คณะนักวิจัย